THE 5-SECOND TRICK FOR วิกฤตคนจน

The 5-Second Trick For วิกฤตคนจน

The 5-Second Trick For วิกฤตคนจน

Blog Article

หลังจากมีข่าวออกมาว่ารัฐบาลจะปรับลดงบประมาณในนโยบายดิจิทัลด้วยการเจาะจงช่วยเหลือกลุ่มบุคคลยากจนหรือผู้ที่มีรายได้น้อยเท่านั้น สิ่งหนึ่งที่เป็นที่ถกเถียงกันในไทยก็คือระดับรายได้ของคนที่เรียกได้ว่า ‘ยากจน’ ในไทยว่าต้องมีรายได้หรือใช้ชีวิตแบบไหนถึงเรียกได้ว่าเป็นคนจนที่ควรได้รับความช่วยเหลือ

สำหรับช่องว่างนี้ ดร.บัณฑิต นิจถาวร อธิบายว่า “เกิดจากระบบแรงจูงใจทางเศรษฐกิจที่ผิดพลาด ที่เป็นผลจากการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ทำให้ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไม่มีการพัฒนา ไม่มีนวัตกรรม ไม่มีการลงทุนใหม่ ไม่มีสินค้าใหม่ๆ ที่จะไปแข่งขันกับต่างประเทศเพื่อสร้างรายได้ ขณะเดียวกันภาคธุรกิจ โดยเฉพาะบริษัทใหญ่ ก็ได้รับการปกป้องในการทำธุรกิจในประเทศ จนทำให้การทำธุรกิจในประเทศมีการแข่งขันน้อย ธุรกิจขนาดใหญ่มีอิทธิพลมากจากสัดส่วนตลาดที่มีสูงและความใกล้ชิดกับผู้ทำนโยบาย สิ่งเหล่านี้ทำให้การแข่งขันที่มีน้อยเป็นข้อจำกัดต่อผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจจากต่างประเทศ ผลคือไม่มีแรงจูงใจให้เกิดการลงทุนในประเทศโดยผู้เล่นรายใหม่และเศรษฐกิจเสียโอกาส นี่คืออีกประเด็นที่ลืมไม่ได้และต้องแก้ไข เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระยะยาว”

ในบทความนี้ บีบีซีไทยชวนสำรวจระบบสวัสดิการของรัฐและงานวิจัยที่บ่งชี้ว่า สวัสดิการที่ "ไม่ถ้วนหน้า" ทำให้เกิดปัญหาผู้ตกหล่น และไม่ได้รับสิทธิที่ควรได้รับอย่างไร

บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

“ผ่อนได้ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว” ดูเหมือนเป็นประโยคดึงดูดให้กลุ่มลูกค้ารายได้น้อย หรือเข้าไม่ถึงสินเชื่อประเภทอื่นเลือกจับจ่ายใช้สอย สิ่งนี้เกิดขึ้นกับร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดเล็กอีกแห่ง

เขามองว่า ทุกครั้งเมื่อรัฐบาลจะให้สวัสดิการ มักแบ่งแยกว่าใครเป็นคนจน หรือคนรวย เมื่อรวยแล้วไม่ควรได้ วิกฤตคนจน มักจะมีความผิดพลาดเกิดขึ้นเสมอ เนื่องจากกระบวนการคัดกรองของรัฐขาดประสิทธิภาพและไม่แม่นยำ จะมีคนจนอีกครึ่งหนึ่งที่ตกสำรวจ จากการแบ่งแยกความจนของภาครัฐ โดยที่รัฐบาลไม่เรียนรู้จากการจัดทำนโยบายของต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จว่า การลดความผิดพลาดจากการสำรวจกลุ่มคนจนที่ได้ผลที่สุด คือ การให้แบบถ้วนหน้า โดยไม่แบ่งแยก

ตั้งหลักให้ถูกในการรับมือคลื่นสินค้าและทุนจีน

ทั้งนี้ สถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นไม่มาก เกิดจากการช่วยเหลือของรัฐซึ่งเป็นผล ”ชั่วคราว” ซึ่งหากความช่วยเหลือหมดลงในช่วงที่เศรษฐกิจและการจ้างงานยังไม่ฟื้นตัวสถานการณ์ความยากจนและความเหลื่อมล้ำจะรุนแรงกว่าเดิม

‘สวัสดิการแบบถ้วนหน้า’ เป็นสิ่งที่ควรวางแผน และดำเนินการอย่างเร่งด่วน ที่ผ่านมารัฐบาลกังวลเรื่องการใช้จ่ายงบประมาณ แต่เขาให้ความเห็นว่า เรื่องที่จำเป็น รัฐบาลต้องทุ่มงบประมาณลงไปดูแล โดยที่ไม่เสียดาย เช่น สวัสดิการดูแลเด็กเล็ก เพราะเมื่อไหร่ที่เด็กมีปัญหาในการใช้ชีวิต การพัฒนาต่อจากนั้นย่อมไม่สามารถเกิดขึ้นได้ รัฐบาลหาช่องทางของงบประมาณเพื่อให้สวัสดิการเป็นเกราะป้องกันประชาชน เมื่อพบเจอวิกฤต และสามารถใช้ชีวิตต่อไปได้โดยไม่ต้องกังวล

ดูชีวิตคนรับค่าแรงขั้นต่ำใน กทม. เงินเฟ้อกระทบคนจนมากกว่าอย่างไร

ความเหลื่อมล้ำทาง “รายได้และทรัพย์สิน” โดยรวมของโลก

'เด็กหญิงจีน' ย้ายบ้านลงภูเขา เริ่มต้นชีวิตใหม่-สะดวกสบายกว่าเดิม

“ที่เราต้องคำนึงถึงต่อมาคือความยั่งยืนของโครงการนี้จะอยู่ตรงไหน ค่าซ่อม ค่าบำรุงรักษา ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบ” รศ.ดร.วิษณุ กล่าวกับบีบีซีไทย

Report this page